Publications

If I had to reduce all of educational psychology to just one principle, I would say this: The most important single factor influencing learning is what the learner already knows. Ascertain this and teach him accordingly.

ถ้าข้าพเจ้าต้องลดทอนหลักจิตวิทยาการศึกษาทั้งหมดให้เหลือเพียงข้อเดียว ข้าพเจ้าจะบอกว่า: ปัจจัยเดียวที่สำคัญที่สุดที่มีอิทธิพลต่อการเรียนรู้คือสิ่งที่ผู้เรียนรู้อยู่แล้ว จงศึกษาสิ่งที่ผู้เรียนรู้อยู่แล้ว และเริ่มสอนจากตรงนั้น

Source/ที่มา: Ausubel, D. P. (1968). Educational Psychology: A Cognitive View. New York: Holt, Rinehart, and Winston. (p. vi).

ผลการวิจัยในโครงการ Inquiring Mind “ครูไทย หัวใจสืบเสาะ”

ปี พ.ศ. 2556

  • หนังสือ/รายงาน
  1. ลือชา ลดาชาติ. (2565). สะเต็มศึกษา : นโยบาย ทฤษฎี และการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [info]
  2. ลฎาภา ลดาชาติ. (2565). การวิจัยปฏิบัติการด้านวิทยาศาสตร์ศึกษา. กรุงเทพฯ: บริษัท ดีเซมเบรี่ จำกัด. [info]
  3. ลือชา ลดาชาติ. (2565). ความรู้เนื้อหาผสานวิธีสอนสำหรับการสอนวิทยาศาสตร์ : สิ่งที่ผู้เตรียมและพัฒนาครูวิทยาศาสตร์ควรรู้. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [info]
  4. ลือชา ลดาชาติ. (2561). การเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ที่เป็นวิทยาศาสตร์ : ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และการศึกษา. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [info]
  5. ลือชา ลดาชาติ. (2558). การวิจัยเชิงคุณภาพสำหรับครูวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. [info]
  6. สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2557). กิจกรรมการเรียนรู้ด้วยการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรไทย (น.ส.พ. ฟ้าเมืองไทย). [info]
  7. ลือชา ลดาชาติ (บรรณาธิการ). (2555). การวิจัยเชิงคุณภาพเพื่อศึกษาความเข้าใจของนักเรียน. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรไทย (น.ส.พ. ฟ้าเมืองไทย). [info]
  8. ลือชา ลดาชาติ. (2554). บันทึกประสบการณ์และการเรียนรู้จากการเข้าร่วมโครงการอบรมครูฟิสิกส์ภาคฤดูร้อนเซิร์น ประจำปี 2554. รายงานต่อสถาบันวิจัยแสงซินโครตรอน (องค์การมหาชน). กรุงเทพฯ: กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. [pdf]
  • บทความวิชาการ
  1. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2565). อัตลักษณ์ด้านสะเต็ม: อีกปัจจัยหนึ่งที่จะส่งเสริมความสำเร็จของสะเต็มศึกษาในประเทศไทย. วารสารวิทยาศาสตร์และวิทยาศาสตร์ศึกษา, 5(1). 148-157. [pdf]
  2. ลือชา ลดาชาติ. (2563). ธรรมชาติของคณิตศาสตร์ผ่านมุมมองจากทฤษฎีสรรคนิยมทางสังคม. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 4(3), 120-133. [pdf]
  3. ลฎาภา ลดาชาติ และ ลือชา ลดาชาติ. (2563). โปรดใช้ความระมัดระวังขณะสอนวิทยาศาสตร์โดยการออกแบบ. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี (สังคมศาสตร์), 14(2), 118-132. [pdf]
  4. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2563). ว่าด้วยธรรมชาติของสมมติฐานทางวิทยาศาสตร์ และการนำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 22(1), 355-365. [pdf]
  5. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2562). การเรียนการสอนที่เน้นสมรรถนะทางวิทยาศาสตร์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 42(4), 1-19. [pdf]
  6. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2561). ความรู้เดิมของนักเรียน: อุปสรรคหรือทรัพยากร.วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 9(2), 324-339. [pdf]
  7. ลฎาภา ลดาชาติ. (2561). การประเมินผลระหว่างเรียน: ประตูสู่การเติบโตทางวิชาชีพของครูวิทยาศาสตร์และการปฏิรูปการศึกษาวิทยาศาสตร์.วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 9(2), 297-323. [pdf]
  8. ลฎาภา ลดาชาติ. (2561). แบบจำลองกับการศึกษาวิทยาศาสตร์. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 38(4), 133-159. [pdf]
  9. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2561). จากการรู้วิทยาศาสตร์และการสืบเสาะสู่สะเต็มศึกษาและการออกแบบ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 20(1), 246-260. [pdf]
  10. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2560). การสร้างแผนภาพความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของผู้เรียน. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 1(1), 6-16. [pdf]
  11. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2560). จากการสืบเสาะตามวัฏจักร 5Es สู่การสืบเสาะที่มีทฤษฎีชี้นำ. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 8(2), 436-448. [pdf]
  12. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2560). ทฤษฎีความผันแปร: อีกมุมมองเกี่ยวกับการเรียนรู้. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 1(2), 37-51. [pdf]
  13. ลฎาภา ลดาชาติ และ ลือชา ลดาชาติ. (2560). การโค้ชชิ่งเพื่อพัฒนาวิชาชีพครู. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 28(3), 1-12. [pdf]
  14. ลือชา ลดาชาติ. (2559). ความก้าวหน้าในการเรียนรู้วิทยาศาสตร์. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 7(1), 141-162. [pdf]
  15. ลือชา ลดาชาติ และ โชคชัย ยืนยง. (2559). สิ่งที่ครูวิทยาศาสตร์ไทยควรเรียนรู้จากโครงการประเมินผลนักเรียนนานาชาติ. วารสารปาริชาต, 28(2), 108 – 137. [pdf]
  16. ลือชา ลดาชาติ, ลฎาภา สุทธกูล, และ ชาตรี ฝ่ายคำตา. (2556). ความแตกต่างที่สำคัญระหว่างการส่งเสริมการเรียนการสอน “ธรรมชาติของวิทยาศาสตร์” ภายนอกและภายในประเทศไทย. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ (สังคมศาสตร์), 34(2), 269 – 282. [pdf]
  17. Ladachart, L., Khamlarsai, S., and Phothong, W. (2021). A Design-based Activity for Teaching and Learning Torque. Physics Education, 56(2), 023009. [info]
  18. Faikhamta, C. and Ladachart, L. (2016). Science Education in Thailand: Moving Through Crisis to Opportunity. In M, Chiu (Ed.), Science Education Research and Practice in Asia (pp. 197-214). Springer: Singapore. [info]
  19. Ladachart, L. and Nashon, S. (2010). Alternative Frameworks in Conceptions of Sound: A Historical Evolution. International Journal of Education, 33(2), 3 – 24. [pdf]
  • บทความวิจัย
  1. ศิรินภา คำหล้าทราย และ ลือชา ลดาชาติ. (2565). ผลของการเรียนรู้บนฐานการออกแบบต่อความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์และชุดความคิดเชิงออกแบบของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 : กรณีศึกษาในหัวข้อเรื่องพื้นเอียง. วารสารวิจัย มข. สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (ฉบับบัณฑิตศึกษา), 10(2), 141-155. [pdf]
  2. ศิรินภา คำหล้าทราย และ ลือชา ลดาชาติ. (2565). การส่งเสริมอภิปัญญาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 ด้วยการเรียนรู้บนฐานการออกแบบ: กรณีศึกษาเชิงผสมผสานวิธี. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 6(3), 1-13. [pdf]
  3. ลือชา ลดาชาติ, วิลาวัลย์ โพธิ์ทอง, วรรณากร พรประเสริฐ, และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2565). การพัฒนาเครื่องมือวัดอัตลักษณ์ด้านสะเต็มของนักเรียนไทย. วารสารวิจัยและนวัตกรรม สถาบันการอาชีวศึกษากรุงเทพมหานคร, 5(1), 148-162. [pdf]
  4. วีรยา รัตนอุทัยกูล และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2565). ทักษะการคิดอภิปัญญาในการแก้โจทย์ปัญหาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 6(1), 72-86. [pdf]
  5. ศศิมน ศรีกุลวงค์ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2564). การใช้แบบจำลองและการสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 5(1), 12-27. [pdf]
  6. พัชราพร จามรี และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2564). ความสามารถในการคิดอย่างมีวิจารณญาณเรื่องปัญหาสิ่งแวดล้อม. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 5(1), 28-43. [pdf]
  7. ลฎาภา ลดาชาติ. (2562). ครูวิทยาศาสตร์ออกแบบการทดลองที่มีทฤษฎีนำทาง: กรณีศึกษาเรื่องการปฏิสนธิในมนุษย์. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 30(2), 28-40. [pdf]
  8. ลฎาภา ลดาชาติ. (2562). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์เพื่อเสริมสร้างความเชื่อเกี่ยวกับการสอนวิทยาศาสตร์ของนักศึกษาครูชีววิทยา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 30(2), 86-100. [pdf]
  9. ลฎาภา ลดาชาติ. (2562). การส่งเสริมความเข้าใจและการใช้แบบจำลองในการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์: กรณีศึกษากับครูวิทยาศาสตร์ประจำการ. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 21(2), 271-284. [pdf]
  10. ลือชา ลดาชาติ, วิลาวัลย์ โพธิ์ทอง, วิไลภรณ์ ฤทธิคุปต์, และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2562). ความเข้าใจและมุมมองของครูเกี่ยวกับสะเต็มศึกษาและการออกแบบเชิงวิศวกรรม. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร, 39(3), 133-149. [pdf]
  11. ลือชา ลดาชาติ. (2562). การให้เหตุผลแบบจารนัยของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษา: กรณีศึกษาเกี่ยวกับปัญหาหมอกควันในภาคเหนือ. วารสารปณิธาน: วารสารวิชาการด้านปรัชญาและศาสนา, 15(1), 153-187. [pdf]
  12. ลือชา ลดาชาติ, มนัส ภูทวี, และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2562). สมมติฐานต่อความก้าวหน้าในการเรียนรู้เรื่องปัญหาหมอกควันในภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ คณะสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 6(1), 116-160. [pdf]
  13. ลือชา ลดาชาติ. (2562). ความโน้มเอียงของการสอนวิทยาศาสตร์ของนิสิตครูชีววิทยาชั้นปีที่ 1. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี, 30(1), 54-70. [pdf]
  14. ลือชา ลดาชาติ, วิลาวัลย์ โพธิ์ทอง, วิไลภรณ์ ฤทธิคุปต์, และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2562). สะเต็มศึกษาและการออกแบบเชิงวิศวกรรมตามความเข้าใจและมุมมองของครู. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 30(1), 89-103. [pdf]
  15. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2561). มุมมองและความเข้าใจเกี่ยวกับแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ของนิสิตครูวิชาเอกชีววิทยา. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ (สังคมศาสตร์), 39(2), 730-741. [pdf]
  16. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2560). การวิเคราะห์ความผันแปรในหนังสือเรียนคณิตศาสตร์ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1: กรณีศึกษาในหัวข้อเรื่องความรู้สึกเชิงจำนวน. ศึกษาศาสตร์สาร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 1(3), 15-27. [pdf]
  17. ลฎาภา ลดาชาติ. (2560). การส่งเสริมความเข้าใจของนักศึกษาครูชีววิทยาเกี่ยวกับ การใช้แบบจำลองในการจัดการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์. วารสารธรรมศาสตร์, 36(2), 77-101. [pdf]
  18. ลือชา ลดาชาติ. (2560). นิสิตครูชีววิทยาเข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ด้านต่าง ๆ อย่างไร?. วารสารธรรมศาสตร์, 36(1), 26-44. [pdf]
  19. ลือชา ลดาชาติ, จักรกฤษณ์ จันทะคุณ, รุ่งทิวา กองสอน, และ วิลาวัลย์ โพธิ์ทอง. (2560). กรณีศึกษาครูวิทยาศาสตร์ที่จัดกิจกรรมการสืบเสาะหลังจากการอบรมเชิงปฏิบัติการ: ข้อค้นพบจากโครงการคูปองพัฒนาครู. วารสารศึกษาศาสตร์ มสธ., 10(2), 89-108. [pdf]
  20. ลือชา ลดาชาติ และ โชคชัย ยืนยง. (2560). การใช้กิจกรรมการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาการรู้วิทยาศาสตร์ของครูและศึกษานิเทศก์. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ (สังคมศาสตร์), 38(1), 482 – 492. [pdf]
  21. ลฎาภา ลดาชาติ และ ลือชา ลดาชาติ. (2560). มุมมองและความเข้าใจเกี่ยวกับแบบจำลองทางวิทยาศาสตร์ของครูวิทยาศาสตร์. วารสารการวิจัยเพื่อพัฒนาชุมชน (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 10(3), 149-162. [pdf]
  22. ลือชา ลดาชาติ และ กาญจนา มหาลี. (2559). ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนต้น. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 7(2), 284-310. [pdf]
  23. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา ลดาชาติ. (2559). ความเข้าใจเกี่ยวกับธรรมชาติของการสืบเสาะทางวิทยาศาสตร์ของนิสิตครูวิชาเอกชีววิทยา. วารสารนวัตกรรมการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์, 2(1), 24-44. [pdf]
  24. ลฎาภา ลดาชาติ และ ลือชา ลดาชาติ. (2559). การตั้งคำถามเกี่ยวกับวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 35(1), 188 – 202. [pdf]
  25. ลฎาภา ลดาชาติ และ ลือชา ลดาชาติ. (2559). จากคำอธิบายของนักเรียนสู่แนวทางการออกแบบการจัดการเรียนรู้เรื่องภาวะโลกร้อน. วารสารหน่วยวิจัยวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และสิ่งแวดล้อมเพื่อการเรียนรู้, 7(1), 88-102. [pdf]
  26. ลือชา ลดาชาติ, กมลรัตน์ ฉิมพาลี, ณิชัชฌา อาโยวงษ์, นพคุณ แงวกุดเรือ, สำเร็จ สระขาว, ชื่นหทัย หวังเอียด, และ จุฬารัตน์ ธรรมประทีป. (2558). การลงข้อสรุปและสร้างคำอธิบายทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ, 35(1), 171 – 206. [pdf]
  27. ลือชา ลดาชาติ, สุนิสา ยะโกะ, และ หวันบัสรี วาเด็ง. (2557). ความเข้าใจของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เกี่ยวกับการเขียนแผนภาพรังสีของแสง. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(12), 109 – 121. [pdf]
  28. ลฎาภา สุทธกูล และ ลือชา ลดาชาติ. (2556). การให้เหตุผลทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4. วารสารมหาวิทยาลัยนเรศวร: วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 21(3), 107 – 123. [pdf]
  29. ลฎาภา สุทธกูล และ ลือชา ลดาชาติ. (2556). แบบจำลองทางความคิดของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 เกี่ยวกับแม่เหล็กและแรงแม่เหล็ก. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 4(1), 90 – 105. [pdf]
  30. ลือชา ลดาชาติ และ ลฎาภา สุทธกูล. (2555). การสำรวจและพัฒนาความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 4(2), 73-90. [pdf]
  31. ลือชา ลดาชาติ และ หวันบัสรี วาเด็ง. (2555). วิธีการแตกแรงของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4: การวิจัยปรากฏการณ์ภาพ. วารสารสงขลานครินทร์ (ฉบับสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์), 18(2), 193-226. [pdf]
  32. ลฎาภา สุทธกูล, นฤมล ยุตาคม, และ บุญเกื้อ วัชรเสถียร. (2555). ความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ และการจัดการเรียนการสอนธรรมชาติของวิทยาศาสตร์ของครูระดับประถมศึกษา.วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 31(5), 124 – 136. [pdf]
  33. ลฎาภา สุทธกูล, นฤมล ยุตาคม, และ บุญเกื้อ วัชรเสถียร. (2554). กรณีศึกษาความเข้าใจธรรมชาติของวิทยาศาสตร์และการปฏิบัติการสอนของครูระดับประถมศึกษา. วิทยาสารเกษตรศาสตร์ (สังคมศาสตร์), 32(3), 458 – 469. [pdf]
  34. ลือชา ลดาชาติ และ วรรณทิพา รอดแรงค้า. (2551). การสำรวจสภาพการเรียนการสอนเรื่องเสียงในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย จังหวัดตรัง. วารสารวิจัย มข., 13(1), 1310 – 1320. [pdf]
  35. Ladachart, L., Radchanet, V., Phothong, W., and Ladachart, L. (2023). Nurturing Middle School Students’ Creative Confidence through Design-based Learning. Research in Science & Technological Education. [info]
  36. Ladachart, L., Phothong, W., Phornprasert, W., Suaklay, N., and Ladachart, L. (2022). Influence of an Inquiry-based Professional Development on Science Teachers’ Orientations to Teaching Science. Journal of Turkish Science Education, 19(3), 979-996. [pdf]
  37. Ladachart, L., Khamlarsai, S., and Phothong, W. (2022). Cultivating a Design Thinking Mindset in Educationally Disadvantaged Students Using a Design-based Activity. International Journal of Innovation in Science and Mathematics Education, 30(4), 1-14. [pdf]
  38. Ladachart, L., Phornprasert, W., and Phothong, W. (2022). Validating a Design-Thinking Mindset Questionnaire with Thai Secondary School Students. Journal of Research and Curriculum Development, 12(1), 78-87. [pdf]
  39. Ladachart, L., Radchanet, V., and Phothong, W. (2023). Effect of Initial Design Experience on Students’ Development of Scientific Understanding. Journal of Experiential Education, 46(1), 115-134. [info]
  40. Ladachart, L., Chaimongkol, J., and Phothong, W. (2022). Design-Based Learning to Facilitate Secondary Students’ Understanding of Pulleys. Australasian Journal of Engineering Education, 27(1), 26-37.  [info]
  41. Ladachart, L. and Ladachart, L. (2022). Preservice Biology Teachers’ Decision-Making on, and Informal Reasoning about, an Agriculture-Based Socioscientific Issue. Journal of Biological Education. [info]
  42. Ladachart, L., Khamlarsai, S., and Phothong, W. (2022). Facilitating Educationally Disadvantaged Students’ Learning of Torque Using a Design-Based Activity. LUMAT: International Journal on Math, Science and Technology Education, 10(1), 151–181. [pdf]
  43. Ladachart, L., Radchanet, V., and Phothong, W. (2022). Design-Thinking Mindsets Facilitating Students’ Learning of Scientific Concepts in Design-Based Activities. Journal of Turkish Science Education, 19(1), 1-16. [pdf]
  44. Ladachart, L., Cholsin, J., Kwanpet, S., Teerapanpong, R., Dessi, A., Phuangsuwan, L., and Phothong, W. (2022). Using Reverse Engineering to Enhance Ninth-Grade Students’ Understanding of Thermal Expansion. Journal of Science Education and Technology, 31(2), 177-190 [info]
  45. Ladachart, L., Cholsin, J., Kwanpet, S., Teerapanpong, R., Dessi, A., Phuangsuwan, L., and Phothong, W. (2022). Ninth-Grade Students’ Perceptions on the Design-Thinking Mindset in the Context of Reverse Engineering. International Journal of Technology and Design Education, 32(5), 2445–2465.  [info]
  46. Ladachart, L., Ladachart, L., Phothong, W., and Suaklay, N. (2021). Validation of a Design Thinking Mindset Questionnaire with Thai Elementary Teachers. Journal of Physics: Conference Series, 1835, 012088. [pdf]
  47. Wangka, K. and Ladachart, L. (2021). Exploring Thai Seventh Grade Students’ Understandings of Design Thinking. Journal of Physics: Conference Series, 1835, 012011. [pdf]
  48. Ladachart, L. and Ladachart, L. (2021). Preservice Biology Teachers’ Decision-making and Informal Reasoning about Culture-based Socioscientific Issues. International Journal of Science Education, 43(5), 641-671. [info]
  49. Ladachart, L. (2021). Conceptions about Teaching and Learning That Influence Thai Preservice Biology Teachers’ Orientations to Teaching Science. Curriculum Perspectives, 41(1), 3-15. [info]
  50. Ladachart, L., Poothawee, M., and Ladachart, L. (2020). Toward a Place-based Learning Progression for Haze Pollution in the Northern Region of Thailand. Cultural Studies of Science Education, 15(4), 991–1017. [info]
  51. Ladachart, L., Phothong, W., Suaklay, N., and Ladachart, L. (2020). Thai Elementary Science Teachers’ Images of “Engineer(s)” at Work. Journal of Science Teacher Education, 31(6), 631-653. [info]
  52. Ladachart, L. (2020). Thai First-Year Preservice Science Teachers’ Orientations toward Teaching Science. The Asia-Pacific Education Researcher, 29(5), 455-471. [info]
  53. Ladachart, L. and Ladachart, L. (2019). Thai Science Educators’ Perspectives on Students’ Prior Knowledge: A Documentary Research. Science Education International, 30(2), 116-127. [pdf]
  54. Ladachart, L. (2019). Correlation between Understanding about Nature of Science and Orientation to Teaching Science: An Exploratory Study with Thai First-Year Preservice Biology Teachers. Journal of Education in Science, Environment and Health, 5(1), 134-145. [pdf]
  55. Ladachart, L. and Ladachart, L. (2016). Pre-service Biology Teachers’ Knowledge of and Attitudes toward Genetically Modified Organisms (GMOs). Paper Presented at the International Conference for Science Educators and Teachers (ISET) 2016 (3 – 5 June 2016). Pullman Khon Kaen Raja Orchid, Khon Kaen, Thailand. [pdf]
  56. Ladachart, L. and Yuenyong, C. (2015). Scientific Inquiry as a Means to Develop Teachers’ and Supervisors’ Scientific Literacy. International Journal of Science Educators and Teachers, 1(1), 63 – 76. [pdf]
  57. Ladachart, L. (2011). Thai Physics Teachers’ Conceptions about Teaching. Journal of Science and Mathematics Education in Southeast Asia, 34(2), 174 – 202. [pdf]
  58. Ladachart, L. (2010). An Analysis of Four Thai Physics Teachers’ Classroom Talks: The Communicative Approach. Paper Presented at the International Conference on Educational Research (ICER) 2010 (10 – 11 September 2010). Faculty of Education, Khon Kaen University, Thailand. [pdf]
  59. Ladachart, L., Nashon, S. M., and Roadrangka, V. (2010). A Thai Physics Teacher’s Conceptual Difficulties While Teaching Unfamiliar Content. KKU Research Journal, 15(4), 304 – 316. [pdf]

Comments

comments

Leave a Reply